วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Swiss Style

Swiss Style เกิดขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 บนรากฐานอิทธิพลของ
Bauhaus - Constructivism และ De Stijl ซึ่งเป็นช่วงที่การใช้ grid
ในการสร้างสรรค์งานยังคง ได้รับการขานรับอย่างต่อเนื่อง และถูกผสมผสานเข้ากับการใช้
เทคนิคใหม่ๆในการตกแต่งแก้ไขภาพถ่าย (photomontage)
นอกเหนือไปจากนั้น การพัฒนาด้านการพิมพ์ก็ได้เปิดช่องทาง-
ใหม่และลูกเล่นใหม่ๆให้กับนักออกแบบ ในยุคนี้อย่างมากมาย แต่สิ่งที่ทำให้
กราฟฟิกดีไซน์แบบใหม่ที่มีในสวิตเซอร์แลนด์ในช่วงยุค 50
กลายเป็นสไตล์โดดเด่นของโลกในช่วงยุค 70 มีความเหมือนเกี่ยว
เนื่องกับรูปแบบพื้นฐาน Typography เป็นอย่างมากรูปแบบสไตล์นี้มีจุดที่ชัดเจน



Internationnal Style ที่เข้ามาใน America
ในช่วงปี 1950-1960ได้มีการมองถึงด้านเกี่ยวกับชุมชนเพื่อที่จะได้มี
การรวมตัวกันเป็นหน่วยงานและถือว่าเหตุการณ์นี้เป็นจุด peak ที่สุดใน
ปี 1970 ก็คือเป็นจุดนึงที่บ่งบอกถึงรากฐานด้านแนวความคิดสมัยใหม่
ในยุคนั้น ทำให้เกิด “Intermationnal Typographic Style”



คนที่ชักจูงเข้ามาคือ Bunnell เขาได้นำการออกแบบเข้ามา
เช่น Ulm Journals จากสื่อสิ่งพิมพ์ใน German




ทำไมงานแนว Swiss ถึงต้องมีรูปแบบ Guid , Asymmetric เป็นหลัก
swiss Style เกิดขึ้นที่เมือง “ซูริก” ซึ่งมีนักออกแบบ
ที่โดดเด่นอย่าง ***Josef Muller Brockmann***
เกิดวันที่ 9 พ.ค. 1914 และได้
เสียชีวิตลงเมื่อ 30 ส.ค. 1996
เป็นทั้งครูและนักออกแบบ เขาเรียนเกี่ยวกับทางด้าน Architecture Design และ History of Arts ที่มหาวิทยาลัย Kunstgewerbeschure
Muller น่าจะได้รับอิทธิพลในการใช้การออกแบบที่เรียนมา
จากโรงเรียนที่เกี่ยวกับ ทางด้าน Architecture Design เขาจึงประยุกต์ เข้ากับงานที่มีการใช้ Asymmetric


ผลงานของ Josef Muller Brockmann




นักออกแบบที่โดดเด่นในยุค International Typographic Style อีกคนหนึ่งก็คือ
Paul Rand -เค้าเรียนทางด้าน Art & Design จาก Pratt Institute
Paul Rand เริ่มทำงาน ตอนอายุ 23 ปี ในตำแหน่ง
Art Director ของ Esquire & Apparel Art magazine ในขณะนั้น Graphic communication
จะมีบทบาทเด่นมากในด้าน การวาดภาพประกอบ , พาดหัว , ตัวอักษรเรียบๆ การใช้สีในงานของ
Paul Rand ได้รับอิทธิพลจาก งานเขียนต่างๆ เช่น งานของ Picasso
พอล แรนด์ เป็นหนึ่งในผู้ริเริ่มใช้สไตล์การออกแบบที่เรียกว่า Swiss Style คือสไตล์ของภาพสะอาดตา คำนึงถึงทักษะการอ่าน และเหตุผล เป็นรูปแบบที่แสดงความเด่นชัดของการจัดองค์ประกอบ
แบบไม่สมมาตร(Asymmetric lay-outs) มีการใช้ตาราง (Grid) และ Sanserif (ส่วนที่ยื่นออกมาจากตัวอักษร) เป็นสไตล์ที่ให้ความสำคั Typography (การพิมพ์) รวมไปถึงการผสมผสานการออกแบบโดย
การใช้รูปถ่าย (Photography) ภาพประกอบ(Illustrate) และรูปวาด (Drawing)

ผลงานของ Paul Rand

1 ความคิดเห็น:

Unknown กล่าวว่า...

ขอบคุณค่ะ
เป็นบทความที่ดีสำหรับนักออกแบบ
ที่ควรจะศึกษาประวัติศาสตร์ และวิธีการคิดของ
นักออกแบบที่เก่งๆ ในอดีต
โดยที่เน้นความสำคัญของบริบทต่างๆ
นอกจากความสวยงามอย่าเดียว ;)